วันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แบนเนอร์












- ข้อมูลิลปิน

มารูน ไฟฟ์ (Maroon 5)
          เป็นวงร็อกเจ้าของรางวัลแกรมมี่จากเมืองลอสแองเจลลิส แคลิฟอร์เนีย สมาชิกในวงทั้ง 5 คนประกอบไปด้วย Adam Levine (นักร้องนำ) , James Valentine (กีตาร์) , Jesse Carmichael (คีย์บอร์ด) , Mickey Madden (เบส) และ Matt Flynn (กลอง) พวกเขาเป็นที่รู้จักจากซิงเกิ้ลฮิตอย่าง "Harder to Breathe", "This Love" และ "She Will Be Loved" ในปี 2007 วง Maroon 5 กลับมาพร้อมกับเพลงใหม่เป็นครั้งแรกในรอบ 5 ปีจากอัลบั้มชุด It Won't Be Soon Before Long และตามมาด้วยเพลงฮิตอย่าง "Makes Me Wonder"

          อัลบั้มแรก "Songs About Jane" ขายได้กว่า 10 ล้านแผ่นทั่วโลก พร้อมคว้ารางวัลแกรมมี่ถึง 2 ครั้ง จากปี 2005 สาขาศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม และ ปี 2006 สาขาศิลปินกลุ่มเพลงป๊อบยอดเยี่ยม จากเพลง This Love
 

- แนวเพลง       :   Poprock
- Concept         :   Smart Rock
- Mood/Tone    :   เท่ห์ / ดุดัน / มีสไตร์

Ads




วันเสาร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

รูปแบบการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในงานโฆษณา

1.

1.การอุปมาทางการเห็น ( Visual Metaphor )
- ขนาดกิ้งก่าคาเมเรียนที่กินแมลงยังต้องแพ้ให้กับไบกอนเลย
2.

2.การใช้ภาพเหนือจริง ( Surrealism )
- การได้เล่น psp เหมือนคุณได้เข้าไปอยู่ในเกมส์จริงๆ

3.

3.การสร้างความคิดผิดปกติจากของจริง ( Violating Reality )
- รองเท้า Scholl นั้นยึดเกาะได้ดีขนาดตกท่อไปแล้วแต่เท้ายังยึดเกาะไว้ได้

4.

4.การรวมเข้ากัน ของ สิ่งของสองสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ( Morphing Blending and Merging
- กลิ่นของสเปรย์ปรับอากาศ Kingstellaหอมเหมือนดอกไม้ ขนาดกลิ่นของบุหรี่ก็ยังสู้ไม่ได้

5.

5.การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย (Subjective Camera )
- ภาพจะบังคับให้เรา ดู ส่วนขาของคนที่เล่นสไลเดอร์ เป็นอันดับแรก หลังจากนั้น จะ ภาพ จะ บีบให้เราดูส่วนต่างๆ ของสวนน้ำ

6.

6.การล้อเลียน ( Visual Parodies )
- Wall ล้อเลียนภาพวาดโบราณ โดยเปรียบกับไอศกรีมเหมือน วัวอยู่ในอ่าง

7.

7.ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ ( Unusual Size )
- เป็นภาพการโฆษณาของกล้อง Samsung: Optical Zoom

วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553


1. ชื่อเรื่อง (Title)
-มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
2. ข้อมูลเบื้องต้น (Background) / S W O T
-มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ได้รับอนุญาตให้ก่อตั้งขึ้นสิบวัน หลังวันพระราชทานเพลิงศพ คือวันที่ 18 กันยายน 2533 คณะกรรมการ ประกอบด้วยบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพ แต่เป็นกลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ตรงกับสืบ เมื่อเริ่มก่อตั้ง มูลนิธิฯ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถได้ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์จำนวนสองล้านสี่แสนสี่หมื่นแปดพันห้าร้อยสี่สิบบาท เป็นกองทุนประเดิมต่อกองทุนของมูลนิธิฯ และพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ ได้ประทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้อีกหนึ่งแสนบาท

3. วัตถุประสงค์ (Objective)
-1.ให้ทุกคนเห็นความสำคัญของธรรมชาติป่าไม้
-2.สืบทอดเจตนารมณ์ของคุณสืบนาคะเสถียรและคนที่รักษ์ธรรมชาติ
-3.หยุดยั้งการทำลายป่าและสัตว์ป่าอันเป็นปัญหาระดับชาติ
4. กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)
-กลุ่มประชาชนที่รักษ์ป่ารักธรรมชาติ
5. แนวความคิด (Concept)
- อนุรักษ์ป่าไว้ ต่อไปลูกหลานจะได้เห็น
6. เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)
- ถ้าไม่อนุรักษ์ ต่อไปก็ไม่มีป่า พอไม่มีป่า ก็ไม่มีสัตว์ป่า ธรรมชาติก็จะหมดไป
7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)
- สดชื่น/ผ่อนคลาย/สบายๆ
8. ผลตอบสนอง (Desired response)
- ทุกคนอาจจะรักษ์ธรรมชาติเพิ่มขึ้น ธรรมชาติจะถูกทำลายน้อยลง ถ้าทุกคนเห็นความสำคัญของป่าไม้

วันพุธที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553








1. ชื่อเรื่อง (Title)
- Canon digital Cameras

2. ข้อมูลเบื้องต้น (Background) / S W O T
- เป็นผู้ผลิตกล้องถ่ายรูป กล้องวิดิโอ กล้องวงจรปิด ที่มีชื่อเสียงในนามของยี่ห้อ canon

3. วัตถุประสงค์ (Objective)
- 1.เพื่อเพิ่มยอดขาย
- 2.เพื่อสร้างความแตกต่างและความน่าสนใจให้กับตัวสินค้า
- 3.เพื่อสร้างความประทับใจแก่ลูกค้า

4. กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)
- 1.ด้านกายภาพ
- ชาย/หญิง/บุคคลที่สนใจการถ่ายภาพ
- อายุ18ปีขึ้นไป
- โสด/สมรส
- 2.ด้านจินตภาพ
- บุคคลที่ชอบเล่นกล้อง
- เป็นคนที่รักในการถ่ายภาพ
- เป็นคนที่กำลังหาซื้อกล้องถ่ายภาพ

5. แนวความคิด (Concept)
- Canon Surveillance Camera: Robber

6. เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)
- กล้องCannonได้มีการพัฒนาเพื่อตอบโจทย์ลูกค้า ที่รักในการถ่ายภาพเพื่อให้ลูกค้าได้มั่นใจในตัว Canon

7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)
- ทึ่ง/น่าสนใจ/อยากลองพิสูจน์

8. ผลตอบสนอง (Desired response)
- ผู้บริโภคมีความเข้าใจต่อความมุ่งหมายของCannonและเป็นที่รู้จักของประชาชนเพิ่มมากขึ้น
 แนวโน้มการโฆษณาของนิเทศศาสตร์



การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทำให้มีสื่อใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ซึ่งแต่ละสื่อล้วนพัฒนารูปแบบได้โดนใจผู้บริโภค และผู้ใช้บริการยุคใหม่ได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางการแพร่ระบาดของ New Media ที่ได้รับความนิยมมากขึ้นทั้งในกลุ่มคนรุ่นเก่าและรุ่นใหม่นั้น มีการศึกษาพบว่าไม่ได้ทำให้สื่อแบบเก่าประเภท โทรทัศน์ วิทยุ และสื่อสิ่งพิมพ์ลดความนิยมลง ถึงแนวโน้มสถานการณ์สื่อว่า ปัจจุบันทั้งสื่อใหม่และสื่อเก่ามีการพัฒนาค่อนข้างมาก โดยเฉพาะการเข้ามาของอินเตอร์เน็ตที่เป็นสื่อใหม่ และก้าวเข้าสู่ความนิยมของเมืองไทยเมื่อ 4-5 ปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการประสมประสานสื่อเดิมให้ครบถ้วนยิ่งขึ้น
“เรื่องบันเทิงระหว่างตะวันตกกับตะวันออกถูกเปิดประตูหมด ทำให้การโฆษณาที่จับกับพวกหนังใหญ่จะมีมากขึ้นที่เราเรียบนกว่า Product Placement จะเป็นที่นิยมและแพงมาก เพราะมีการใส่เข้าไปชนิดที่ผู้รับสารไม่รู้ตัว และกลมกลืน”
แม้ว่าภาพรวมของการโฆษณาบ้านเราจะไม่เติบโตเหมือนกับช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา แต่จากตัวเลขที่ขยับถึง 9.3 หมื่นล้านบาทเมื่อถึงช่วงปลายปี 2549 ซึ่งเป็นอัตราการเติบโตที่มากกว่าปีที่ผ่านมาราว 4% ทำให้คาดการณ์ว่าปีหน้าอุตสาหกรรมโฆษณาบ้านเราน่าจะทะลุ 1 แสนล้านบาทแน่นอน
ทุกวันนี้ทั่วโลกก็ยังไม่สามารถเปลี่ยนรูปแบบจากสิ่งพิมพ์ให้มาอยู่หน้าจอ หรือมือถือได้ทั้งหมด นี่เป็นแนวโน้มที่ดีของหนังสือพิมพ์ที่จะต้องผสมผสานเรื่องของสื่ออื่นให้มากขึ้น”